ส่วนนี้นำเสนอเกี่ยวกับบทความทางวิชาการของผมและเพื่อนร่วมงานทีได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับต่าง ๆ และในรายงานการประชุมวิชาการทั้งระดับนานาชาติและระดับประเทศ ผู้เรียนและผู้สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดบทความต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์ได้ตามความเหมาะสม

วารสารวิชาการระดับนานาชาติ (International Journal)

ลำดับ ชื่อเรื่อง ดาวน์โหลด
1) Preechawong, S., Anmanatrakul, A., Pinit, P., Koul, R., Easter, M.A., 2021, Relationship between mentoring and coaching experience, teaching self-efficacy and job satisfaction of vocational school teachers in Thailand, Educational Studies, 1-21. https://doi.org/10.1080/03055698.2021.1994374 -
2) Kodkanon, K., Pinit, P., and Murphy, E., 2018, High-school teachers’ experiences of interdisciplinary team teaching, Issues in Educational Research, 28(4): 967-989. Adobe-PDF-Document-icon
3) Kunakornsakul, H., Pinit, P., and Raghu Echempati, 2018, Preliminary Design and Implementation of Embedding Information Literacy into an Undergraduate Engineering Course, Int. J. Innovation and Learning. DOI: 10.1504/IJIL.2019.10013704 -
4) Kodkanon, K. and Pinit, P.2015, The Interdisciplinary Lesson Plan of Interdisciplinary Teaching in Science-Based Technology School, International Journal of Information and Education Technology, 5(9): 693-697. Adobe-PDF-Document-icon
5) Pinit, P. and Umezaki, E., 2009, Determination of 2D directional field of three-point bending beam with three-stepped data in digital photoelasticity, Thammasat International Journal of Science and Technology, 14(1): 34-42. Adobe-PDF-Document-icon
6) Pinit, P.2009, Development of Windows-based program for analysis and visualization of two-dimensional stress field in digital photoelasticity, Songklanakarin Journal of Science and Technology, 31(2): 205-212. Adobe-PDF-Document-icon
7) Pinit, P. and Umezaki, E., 2008, Extraction of Singularities in Isoclinic Phase Map for Isoclinic Phase Unwrapping in Digital Photoelasticity, Journal of The Japanese Society for Experimental Mechanics, 8: 88-93. Adobe-PDF-Document-icon
8) Nomura, Y., Pinit, P., and Umezaki, E., 2008, Digital Simulation of a Circular Ring Loaded by a Diametric Compression for Photoelastic Analysis, Journal of The Japanese Society for Experimental Mechanics, 8: 83-87. Adobe-PDF-Document-icon
9) Nomura, Y., Pinit, P., and Umezaki, E., 2008, Full-field isoclinic evaluation in digital phase-shifting photoelasticity applied to C-shaped model, Journal of Solid Mechanics and Materials Engineering, 2(4):  530-536. Adobe-PDF-Document-icon
10) Pinit, P. and Umezaki, E., 2008, Absolute fringe order determination in digital photoelasticity, Journal of Solid Mechanics and Materials Engineering, 2(4):  519-529. Adobe-PDF-Document-icon

วารสารวิชาการระดับชาติ (National Journal)

ลำดับ ชื่อเรื่อง ดาวน์โหลด
1) พิเชษฐ์ พินิจ, อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล และ เอกรัตน์ รวยรวย, 2566, การรู้การประเมิน : การประเมิน ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ และการกำหนดเกรดที่ถูกต้องและเป็นธรรมตามแนวคิดการจัดการศึกษาแบบเน้นผลลัพธ์, วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี, 3(2): 6-20. Adobe-PDF-Document-icon
2) จักรพันธุ์ มีอาษา, ศักดิ์สิทธิ์ ปนคำ, พิเชษฐ์ พินิจ, อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล, และ สุจินต์ จิระชีวะนันท์, 2565, ผลของความเชื่อมโยงเชิงโครงสร้างและการประเมินตามรูปแบบของการศึกษาที่มุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้เป็นสำคัญที่มีต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน: กรณีศึกษาในรายวิชาการปฏิบัติงานทางด้านยานยนต์, วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 21(2): 54-65. Adobe-PDF-Document-icon
3) พิเชษฐ์ พินิจ, อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล และ จักรพันธุ์ มีอาษา, 2563, การตัดเกรดฐานผลลัพธ์ในการศึกษาเชิงผลลัพธ์, วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 6(2): 59-96. Adobe-PDF-Document-icon
4) พิเชษฐ์ พินิจ, อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล, เอกรัตน์ รวยรวย, สันติรัฐ นันสะอาง, คมกฤตย์ ชมสุวรรณ, 2563,  การพัฒนากรอบเชิงโครงสร้างเพื่อการอธิบายความหมายและความสัมพันธ์ระหว่างคำสำคัญทางการศึกษาที่ปรากฏในนโยบายการศึกษา : การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม, วารสารนาคบุตรปริทรรศน์, 12(3): 139-151. Adobe-PDF-Document-icon
5) สถาพร เจริญศุภโชคกุล, พิเชษฐ์ พินิจ, อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล, มานนท์ สุขละมัย และ บรรจบ อรชร, 2562,  แนวคิดใหม่ทางวิศวศึกษาสำหรับการเรียนการสอนกลศาสตร์ของแข็ง : การสร้างภาพความเข้าใจผ่านหลักการสำคัญ แผนที่ศาสตร์ และกลยุทธ์การแก้ปัญหา, วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., 42(1): 23-53. Adobe-PDF-Document-icon
6) พิเชษฐ์ พินิจ2560, การออกแบบรายวิชาเชิงศิลป์และศาสตร์การสอน และการนำไปปฏิบัติให้เกิดผลของการประเมินแบบอิงผลลัพธ์การเรียนรู้ : ความพยายามเบื้องต้นในรายวิชาเครื่องจักรกลและการออกแบบ ระดับปริญญาตรี, วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., 40(4): 543-565. Adobe-PDF-Document-icon
7) ณัฐพงษ์ เทียนกุล และ พิเชษฐ์ พินิจ, 2559, ความแข็งแกร่งของชิ้นส่วนประกบในรอยต่อที่ยึดด้วยสลักเกลียวและแป้นเกลียวมาตรฐาน : การเปรียบเทียบค่าโดยวิธีวิเคราะห์และวิธีโฟโตอิลาสติกซิตี, วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., 39(4): 545-561. Adobe-PDF-Document-icon
8) ธนาภรณ์ สงวนไว้, จักรกฤษ ครองชื่น และ พิเชษฐ์ พินิจ, 2558การหล่ออย่างง่ายและการทดสอบสมบัติทางกลและทางแสงของเรซิ่นในประเทศ : กรณีศึกษาการใช้งานเป็นวัสดุในการทดลองด้านโฟโตอิลาสติกซิตี, วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., 38(3): 255-271. Adobe-PDF-Document-icon
9) Pinit, P.2011, Photoelastic Simulation towards a Study of a Simply Supported Rectangular Beam Carrying a Central Concentrated Force, KMUTT Research and Development Journal, 34(2): 89-103. Adobe-PDF-Document-icon
10) พิเชษฐ์ พินิจ,  ทองสุข หน่ายโย และ ธีระวุฒิ ป้อมสุวรรณ, 2553, โพลาริสโคปขนาดกระทัดรัดแบบตั้งโต๊ะ : การออกแบบและการประเมิน, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หมวดวิศวศึกษา, 2(4): 17-28. Adobe-PDF-Document-icon
11) พิเชษฐ์ พินิจ2553, โฟโตอิลาสติกซิตีเชิงเลข ภาค 1 : การได้มาซึ่งสมการความเข้มแสงควบคุมสำหรับโพลาริสโคปแบบแสงโพลาไรซ์ระนาบบนฐานตรีโกณมิติ, วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 20(3): 648-656. Adobe-PDF-Document-icon
12) พิเชษฐ์ พินิจ2553, ทิศทางความเค้นหลัก: การวิเคราะห์เชิงจุดและเชิงสนามผ่านปัญหาในทฤษฎีสภาพยืดหยุ่น, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หมวดวิศวศึกษา, 2(1): 1-20. Adobe-PDF-Document-icon
13) พิเชษฐ์ พินิจ, ณัฐพงศ์ ภูพันเดียว และ ตติย์ สังข์งาม, 2552, การไหลของความเค้น: การทดสอบด้วยวิธีการสร้างรอยแตกร้าวอย่างง่าย, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หมวดวิศวศึกษา, 1(3): 27-42. Adobe-PDF-Document-icon
14) พิเชษฐ์ พินิจ2552, ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโฟโตอิลาสติกซิตีและโฟโตอิลาสติกซิตีเชิงเลข, วิศวกรรมสาร มข., 36(3): 195-203. Adobe-PDF-Document-icon
15) พิเชษฐ์ พินิจ2552, การค้นหาภาวะไร้ความต่อเนื่องในแผนภาพไอโซคลินิกในวิธีวิเคราะห์ความเค้นในช่วงยืดหยุ่นด้วยแสงเชิงดิจิทัล, วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., 32(1): 89-103. Adobe-PDF-Document-icon

การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (International Conference)

ลำดับ ชื่อเรื่อง ดาวน์โหลด
1) Preechawong, S., Anmanatrakul, A., and Pinit, P., 2021, The Influence of Mentoring and Coaching Relationship on Job Satisfaction and Life Satisfaction in Teachers: Pilot Study of Vocational Teachers in Thailand, ISSN: 2435-5240 The Southeast Asian Conference on Education (SEACE2020), September, 2021, Official Conference Proceedings https://doi.org/10.22492/issn.2435-5240.2020.16. Adobe-PDF-Document-icon
2) Koomtong, N., Chomsuwan, K., Tanprasert, K., and Pinit, P., 2014, Science and Technology Learning Model Development to Encourage Thai High School Student to Learning in Engineering Career, International Conference of Teaching, Assessment and Learning (TALE 2014), December 8-10, 2008, Wellington, New Zealand, pp. 365-370. Adobe-PDF-Document-icon
3) Kunakornsakul, H., and Pinit, P.2012, First Step to increase information literate Learners: a Study of Undergraduate Students in Science and Technology, Lifelong Learning International Conference (3LInC'12), November 19-20, 2012, Bangkok, Thailand, pp. 355-363. -
4) Kunakornsakul, H., and Pinit, P.2012, 21st Century Skills of Undergraduate Students in Science and Technology: an Information Literacy Assessment, The Fourth TCU International e-Learning Conference, June 19-20, 2012, Nonthaburi, Thailand, pp. 291-299. Adobe-PDF-Document-icon
5) Pinit, P., 2008, Evaluation of Line-Wise and Semi Region-Wise Phase Unwrapping for Isoclinics Parameter in Digital Photoelasticity, The International Conference on Experimental Mechanics 2008 (ICEM 2008), November 8-11, 2008, Nanjing Shuixiu Garden Hotel, Nanjing, China, p. 106. (published by SPIE 7375 and indexed in SCOPUS.) Adobe-PDF-Document-icon
6) Pinit, P., 2008, Continuous Phase Retrieval of Isoclinic Parameter in Digital Photoelasticity, The International Conference on Experimental Mechanics 2008 (ICEM 2008), November 8-11,  2008, Nanjing Shuixiu Garden Hotel, Nanjing, China, p. 104.(published by SPIE 7375 and indexed in SCOPUS.) Adobe-PDF-Document-icon

การประชุมวิชาการระดับชาติ (National Conference)

ลำดับ ชื่อเรื่อง ดาวน์โหลด
1) ชัชฎาภรณ์ คงงาม, นิตยา เสาหงส์, มงคล นามลักษณ์, คมกฤตย์ ชมสุวรรณ, พิเชษฐ์ พินิจ, เอกรัตน์ รวยรวย, อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล, สันติรัฐ นันสะอาง และ วิศิษฎ์ศรี วิยะรัตน์, 2567, การส่งเสริมแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานของครูผู้สอนวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี)ด้วยกรอบแนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ, การประชุมวิชาระดับชาติด้านนวัตกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีครั้งที่ 4 (NCLIST 2024), 21-22 มีนาคม 2567, พัทยา, จังหวัดชลบุรี Adobe-PDF-Document-icon
2) พิเชษฐ์ พินิจ, อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล, เอกรัตน์ รวยรวย, สันติรัฐ นันสะอาง และคมกฤตย์ ชมสุวรรณ, 2562, พีระมิดสถาปัตยกรรมทางการศึกษาเพื่อความเข้าใจใหม่ : การเรียนรู้และสังเคราะห์จากประสบการณ์ภาคสนาม, การประชุมวิชาการการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติครั้งที่ 49, 6-7 ธันวาคม 2562, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, จังหวัดนครศรีธรรมราช Adobe-PDF-Document-icon(author's version)
3) อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล และ พิเชษฐ์ พินิจ, 2561, ทักษะการคิดแก้ปัญหาทางฟิสิกส์และวิศวกรรมของนักศึกษา : การสืบค้นเชิงคุณภาพเบื้องต้น จากรายวิชาพลศาสตร์วิศวกรรม และเครื่องจักรกลและการออกแบบ, การประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5, 6-8 ธันวาคม 2561, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, จังหวัดตาก Adobe-PDF-Document-icon
4) ไกรศิลา กานนท์, สุทธิพงษ์ เรืองจันทร์ และ พิเชษฐ์ พินิจ, 2559, การบูรณาการจิตตปัญญาวิถีสู่ห้องเรียนขนาดใหญ่ กรณีศึกษา GEN 241 ความงดงามแห่งชีวิต : บทสะท้อนจากประสบการณ์ตรง, การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ สถาบันพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 1 : การวิจัยและพัฒนาการศึกษาไทยด้านศิลปวัฒนธรรม Thailand 4.0, 4 พฤษภาคม 2559, โรงแรมเดอะรอยัลริเวอร์, กรุงเทพฯ -
5) วิศิษฏ์ศรี วิยะรัตน์, ชิดพร วรวิมุต, เอกรัตน์ รวยรวย, พิเชษฐ์ พินิจ, อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล, ปกรณ์ สุปินานนท์, อินทร์ธิรา คําภีระ และ พลศักดิ์ เลิศหิรัญปัญญา, 2559, ผลกระทบจากการหลอมรวมจิตตปัญญาศึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนห้องเรียนไปสู่การจัดการเรียนรู้เชิงรุก, การประชุมวิชาการการเรียนรู้เชิงรุก “Active Learning: Challenges and Innovations”, 5 - 6 สิงหาคม 2559, โรงแรมทวินโลตัส, นครศรีธรรมราช, หน้า 155-164. Adobe-PDF-Document-icon
6) เอกรัตน์ รวยรวย, พิเชษฐ์ พินิจ, อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล และ วิศิษฏ์ศรี วิยะรัตน์, 2559, การพัฒนาอาจารย์ด้วยจิตตปัญญาศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนเชิงรุก, การประชุมวิชาการการเรียนรู้เชิงรุก “Active Learning: Challenges and Innovations”, 5 - 6 สิงหาคม 2559, โรงแรมทวินโลตัส, นครศรีธรรมราช, หน้า 165-174. Adobe-PDF-Document-icon
7) พิเชษฐ์ พินิจ, อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล, เอกรัตน์ รวยรวย และ วิศิษฏ์ศรี วิยะรัตน์, 2559, จิตตปัญญาศึกษากับการเป็นวิถีบ่มเพาะผู้เรียนสู่ความเป็นมนุษย์ที่แท้ : กรณีศึกษารายวิชาการเขียนเชิงวิชาการในระดับปริญญาตรี, การประชุมวิชาการระดับชาติ เปิดโลกกว้างทางปัญญา วิชาศึกษาทั่วไป ครั้งที่ 2, 23 - 24 มิถุนายน 2559, โรงแรมโกลเด้น ทิวลิป ซอฟเฟอริน, กรุงเทพฯ, หน้า 26-36. -
8) เอกรัตน์รวยรวย, อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล, พิเชษฐ์ พินิจ, อินทร์ธิรา คําภีระ, ปกรณ์ สุปินานนท์ และ วิศิษฏ์ศรีวิยะรัตน์, 2558, เทคนิค 5 ประการของกระบวนการเพื่อเปลี่ยนห้องเรียนไปสู่การจัดการเรียนรู้เชิงรุก, การประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมระดบชาติ ครั้งที่ 8, 26 พฤษจิกายน 2558, คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, กรุงเทพฯ, หน้า 221-228. Adobe-PDF-Document-icon
9) เอกรัตน์ รวยรวย, พิเชษฐ์ พินิจ และ วิศิษฏ์ศรี วิยะรัตน์, 2557, การเผยแพร่องค์ความรู้ด้านจิตตปัญญาศึกษาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), การประชุมวิชาการประจำปีจิตตปัญญาศึกษา ครั้งที่ 6 จิตตปัญญาศึกษา...พลังแห่งการฟื้นฟูและสร้างสรรค์สังคม, 13 - 14 พฤศจิกายน 2557, ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันอาศรมศิลป์ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, กรุงเทพฯ, หน้า 1-25. -
10) พิเชษฐ์ พินิจ, 2554, การใช้แผ่นกระจายแสงแบบให้แสงที่ขอบด้วยหลอดไดโอดเปล่งแสงเพื่อการส่องสว่างในการวิเคราะห์ความเค้นด้วยวิธีโฟโตอิลาสติกซิต, การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 25, 19 - 21 ตุลาคม 2554, โรงแรมอ่าวนาง วิลลา รีสอร์ท, กระบี่, รหัสบทความ AMM20. Adobe-PDF-Document-icon
11) พิเชษฐ์ พินิจ, 2552, การปรับปรุงกระบวนการคืนรูปเฟสแบบกึ่งอาณาบริเวณสำหรับตัวแปรไอโซคลินิกในโฟโตอีลาสติกซิตีเชิงเลข, การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23, 4 - 7 พฤจิกายน 2552, โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง, เชียงใหม่, รหัสบทความ AMM018108. Adobe-PDF-Document-icon
12) ศรัณยู มั่นพิศุทธิ์ และ พิเชษฐ์ พินิจ, 2552, การจำลองสนามความเค้นของคานสี่เหลี่ยมอย่างง่ายรับแรงกระจายเอกรูปและแผ่นเรียบบางมีรูกลมตรงกลางรับความเค้นเฉือนล้วนด้วยโฟโตอีลาสติกซิตีเชิงเลข,การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23, 4 - 7 พฤจิกายน 2552, โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง, เชียงใหม่,  รหัสบทความ AMM026109. Adobe-PDF-Document-icon
13) พิเชษฐ์ พินิจ2552, อิทธิพลของสนามทิศทางต่อการหาสนามความเค้นในวิธีโฟโตอิลาสติกซิตีเชิงเลขแบบใช้แสงโพลาไรซ์วงกลม, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 7, 21 - 22 พฤษภาคม 2552, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, หาดใหญ่, หน้า 579-583. Adobe-PDF-Document-icon
14) พิเชษฐ์ พินิจ2552, การหาแนววิถีความเค้นหลักด้วยวิธีเชิงวิเคราะห์และโฟโตอิลาสติกซิตีเชิงเลข, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 7, 21 - 22 พฤษภาคม 2552, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, หาดใหญ่, หน้า 567-572. Adobe-PDF-Document-icon
15) ศรัณยู มั่นพิศุทธิ์ และ พิเชษฐ์ พินิจ2551, การจำลองภาพสนามความเค้นสองมิติของแผ่นเรียบบางขนาดใหญ่ที่มีรูกลมตรงกลาง, การประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 3, 18 - 19 ธันวาคม 2551, โรงแรม เอส ดี อเวนิว, กรุงเทพฯ, หน้า 242-249. Adobe-PDF-Document-icon
16) พิเชษฐ์ พินิจ2551, โปรแกรมเพื่อการแสดงภาพสนามความเค้นสองมิติเพื่อการพัฒนาการเรียนรู้และประสบการณ์ในการเรียนรายวิชากลศาสตร์วัสดุขั้นสูง, การประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมแห่งชาติครั้งที่ 3, 18 - 19 ธันวาคม 2551, โรงแรม เอส ดี อเวนิว, กรุงเทพฯ, หน้า 233-241. Adobe-PDF-Document-icon
17) ณัฐวัฒน์ พลอยทับทิม และ พิเชษฐ์ พินิจ, 2551, การสร้างเสริมความเข้าใจเชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับวิถีความเค้นด้วยดิจิตัลโฟโตอิลาสติกซิตี, การประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 3, 18 - 19 ธันวาคม 2551, โรงแรม เอส ดี อเวนิว, กรุงเทพฯ, หน้า 88-164. Adobe-PDF-Document-icon
18) พิเชษฐ์ พินิจ2551, การตรวจสอบผลเฉลยจากทฤษฎีสภาพยืดหยุ่นของแผ่นวงแหวนรับแรงเข้มกดตรงกันข้ามตามแนวเส้นผ่านศูนย์กลางด้วยวิธีวิเคราะห์ความเค้นในช่วงยืดหยุ่นโดยแสงเชิงดิจิตอลการประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22, 15 - 17 ตุลาคม 2551, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต, กรุงเทพฯ, หน้า 47-52. Adobe-PDF-Document-icon
19) ณัฐวัฒน์ พลอยทับทิม และ พิเชษฐ์ พินิจ2551, การพัฒนาวิธีการคืนรูปไอโซคลินิกบนพื้นฐานการใช้ฟังก์ชั่นแทนเจนต์ผกผันแบบสี่จตุภาค: การทดสอบกับริ้วจำลอง, การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22, 15-17 ตุลาคม 2551, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต, กรุงเทพฯ, หน้า 42-46 Adobe-PDF-Document-icon
20) พิเชษฐ์ พินิจ2551, การคืนรูปตัวแปรไอโซคลินิกด้วยวิธีการปรับค่าสนามโคซายน์ทิศทาง, การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22, 15-17 ตุลาคม 2551, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต, กรุงเทพฯ, หน้า 37-41. Adobe-PDF-Document-icon
21) Pinit, P., 2007Automated Detection of Singularities from Orientation Map of Isoclinics in Digital PhotoelasticityIn Proceeding of the 21st Conference of Mechanical Engineering Network of Thailand, 17-19 October, 2007, Chonburi, Thailand. Adobe-PDF-Document-icon
22) พิเชษฐ์ พินิจ, ณัฐวัฒน์ พลอยทับทิม และ ศรัณยู มั่นพิศุทธิ์, 2551, การจำลองแบบริ้วสนามความเค้นเพื่อวิธีวิเคราะห์ความเค้นในช่วงยืดหยุ่นด้วยแสงการประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 6, 8-9 พฤษภาคม 2551, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, หาดใหญ่, หน้า 659-664. Adobe-PDF-Document-icon

ผลงานที่ไม่ได้เผยแพร่ (Unpublished Work)

ลำดับ ชื่อเรื่อง ดาวน์โหลด
1) วิสุดา ปูระเสนา, ภูริวัจน์ อัครวิรัชกุล และ พิเชษฐ์ พินิจ, 2560, เครื่องต้นแบบแสดงภาพความเค้นด้วยรอยแตกร้าวในแผ่นพลาสติกใสภายใต้การดึงและการดัด : การออกแบบ สร้าง และทดสอบ Adobe-PDF-Document-icon

การเข้าร่วมการประชุมวิชาการ

>>> ประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 49 (ngrc #49) ระหว่าง วันที่ 6 – 7 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช (ขอขอบคุณ ผศ.ดร.วีระยุทธ สุดสมบูรณ์ ที่ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี)

 

>>> ประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5 หัวข้อ “สู่วิจัยรับใช้สังคม ด้วยนวัตกรรมสร้างสรรค์” The 5th Conference on Research and Creative Innovations : CRCI-2018 ระหว่าง วันที่ 6 – 8 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จังหวัดตาก (ขอขอบคุณท่านอาจารย์สุรนารถ ฉิมภารส ที่ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น)

ประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ สถาบันพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 1 : การวิจัยและพัฒนาการศึกษาไทยด้านศิลปวัฒนธรรม Thailand 4.0